สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน (MAEW) 2021
ออกแบบอาเซียนใหม่ เสียงประชาชนในโลกวิกฤต
โปรแกรม
เวทีออนไลน์
วันที่ 24-30 กันยายน 2564
ดาวน์โหลดโปรแกรมฉบับเต็ม
https://drive.google.com/drive/folders/1ZMZmOFl5dKlV0C11BRlXDdJnYsbbZ4GA?usp=sharing
ส่วนที่ 1: “อาเซียนกับโลก”
วันศุกร์ที่ 24 กันยายน 2564
9.00-9.30
"ความหมายของ MAEW" เปิดงาน สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2564
9.30-11.00
เวทีอภิปราย “ย้อนดูอาเซียน”
ผู้ร่วมอภิปราย
- สิ่งที่คนอาเซียนกำลังเผชิญ โดย
ปีเตอร์ คาลัง (Peter Kalang) องค์กร Save River มาเลเซีย
- ภูมิรัฐศาสตร์ในอาเซียน โดย ดร. วอลเดน เบลโล (Walden Bello) ผู้ร่วมก่อตั้ง Focus on the Global South และอดีตสมาชิกรัฐสภาฟิลิปปินส์
- ความยุติธรรมทางสังคม สิทธิ และสิทธิแรงงาน โดย คุณอังคณา นีละไพจิตร อดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- สถานการณ์คนรุ่นใหม่อาเซียน โดยกง โสมะนีเจียด (Kong Somonicheat) จากองค์กร Social Action for Community and Development กัมพูชา
ผู้ดำเนินการอภิปราย
เปรมฤดี ดาวเรือง โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
------------------------------------
11.30-13.00
เวทีอภิปราย “ประเด็นโลกสู่อาเซียน”
ผู้ร่วมอภิปราย
- “โควิด-19 ภัยคุกคามต่อชุมชนที่พึ่งพาป่าในอเมซอน: ผลกระทบและการดิ้นรน” โดย มาโนเอล เอดิวัลโด ซานโตส มาโตส (Manoel Edivaldo Santos Matos) ประธานสหภาพแรงงานเมืองซานตาเร็ม (Santarem) รัฐปารา อเมซอน ประเทศบราซิล
- วาทกรรม “เศรษฐกิจสีเขียว” (Green economy) โดยแลรี ลอแมน (Larry Lohmann) องค์กร The Corner House สหราชอาณาจักร
- เศรษฐกิจสีน้ำเงิน (Blue Economy) และบลูคาร์บอน (Blue Carbon) ผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่น โดย ซูซาน โรมิกา (Susan H Romica) เลขาธิการองค์กรพันธมิตรประชาชนเพื่อความยุติธรรมประมง (KIARA) อินโดนีเซีย
ผู้ดำเนินการอภิปราย
ชาลมาลี กุตตัล โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา (Focus on the Global South : FOCUS)
------------------------------------
13.00-14.00
พักรับประทานอาหารกลางวัน
----------------------------------
14.00-14.30
หมอลำและหมอแคน “ประชาชนอาเซียน” (ผลิตเพื่อ MAEW2021 โดยเฉพาะ)
คณะหมอลำกู่แคน จังหวัดขอนแก่น
14.30-16.30
เวทีอภิปราย “ภูมิภาคแม่น้ำโขงและอาเซียนหลังวิกฤตโควิด-19: มุมมองของพันธมิตร”
ผู้ร่วมอภิปราย
- มิเกล มัสซินกิ (Miguel Musngi) เจ้าหน้าที่อาวุโส แผนกขจัดความยากจนและเพศสภาพ (Poverty Eradication and Gender Division) สำนักเลขาธิการอาเซียน อินโดนีเซีย
- ดร.อุเมะซะวะ อากิมะ (Dr. Umezawa Akima) รัฐมนตรี (ฝ่ายการเมือง) สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำกรุงเทพ
- ทอม มูดี้ (Tom Moody) ผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้านสภาพภูมิอากาศและพลังงาน สำนักงานเครือจักรภพและการพัฒนาต่างประเทศแห่งสหราชอาณาจักร (FCDO)
- อีวาน ฟอกซ์ (Evan Fox) เจ้าหน้าที่ฝ่ายเศรษฐกิจ สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา
ผู้ดำเนินการอภิปราย
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
----------------------------------------
16.30-18.00
สารคดี - “ผู้พิทักษ์สายน้ำ” (Guardians of the River) เกี่ยวกับวิถีชีวิตคนพื้นเมืองริมแม่น้ำคลาแมท (Klamath) และโครงการรื้อถอนเขื่อนคลาแมทในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (2563)
และ;
อภิปรายเพิ่มเติม โดยบรูซ ชูเมกเกอร์ (Bruce Shoemaker) ผู้ประสานงานโครงการ Klamath ขององค์การแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers)
โดย องค์กร American Rivers และ Swiftwater Films
ส่วนที่ 2: วิกฤตภูมิภาคและการเคลื่อนไหว
วันเสาร์ที่ 25 กันยายน 2564
9.30-12.30
สัมมนาเชิงปฎิบัติการ “พลเมืองรุ่นใหม่ออกแบบกู้วิกฤติโลกร้อน”
พี่เลี้ยง
• รศ. ดร. นฤมล อรุโณทัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• กลย์วัฒน์ สาขากร นักวิจัยอิสระ
• สิรภพ บุญวานิช นักวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศ
• สิทธิชาติ สุขผลธรรม, Climate Talk Thailand
จัดโดย Climate Justice for all และเครือข่ายคนรุ่นใหม่
------------------------------------------
13.00-14.30
เวทีอภิปราย “วิกฤตสภาพภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
จัดโดย The Asian Peoples' Movement on Debt and Development (APMDD), และ โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา (Focus on the Global South: FOCUS)
ผู้อภิปราย
- “ความยุติธรรมด้านสภาพภูมิอากาศและการผลักดันต่ออาเซียน” โดยลิดี้ แนคปิล (Lidy Nacpil), ขบวนการประชาชนเอเชียว่าด้วยหนี้และการพัฒนา (APMDD) ฟิลิปปินส์
- “ความยุติธรรมด้านภูมิอากาศสำหรับเยาวชนและคนรุ่นอนาคต” โดยโรจอน เอนเทด (Rojohn Ented), Teduray, สมาคมเยาวชนและนักศึกษา Lambangian (TLYSA), ฟิลิปปินส์
- “มุมมองสตรีนิยมเกี่ยวกับความยุติธรรมด้านสภาพอากาศ” โดยติติ ซวนโทโร (Titi Soentoro) องค์กร Aksi! เพื่อความยุติธรรมด้านเพศ สังคม และนิเวศวิทยา อินโดนีเซีย
- “ความยุติธรรมของสภาพภูมิอากาศในกรอบของศักดิ์ศรี พื้นที่ชีวิต และอาณาเขต” โดยเฮนโดร ซังโรโย (Hendro Sangkoyo), โรงเรียนเศรษฐศาสตร์ประชาธิปไตย อินโดนีเซีย
- “อุทยานสันติภาพสาละวิน (Salween Peace Park) – เส้นทางของชนพื้นเมืองสู่ความยุติธรรมด้านสภาพอากาศ” โดย อเล็กซ์ ฉ่วย (Alex Shwe), เครือข่ายกะเหรี่ยงสิ่งแวดล้อมและการเคลื่อนไหวทางสังคมกระเหรี่ยง (Karen Environmental and Social Action Network : KESAN)
ผู้ดำเนินการ
ชัลมาลี กุตตาล (Shalmali Guttal) Focus on the Global South
--------------------------------------
15.00-16.30
เวทีเสวนา “มุ่งสู่เกษตรกรรมยั่งยืนเพื่อรับมือกับวิกฤติสภาพภูมิอากาศ”
ผู้ร่วมเสวนา
- “เกษตรกรรมอุตสาหกรรมและวิธีแก้ปัญหาวิกฤตสภาพภูมิอากาศแบบที่ไม่ฉลาดนัก” โดยอาฟซา จาฟรี (Afsar Jafri) อินโดนีเซีย จากองค์กร GRAIN
- “การออมและอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ต้านทานภัยแล้งและน้ำท่วมแบบดั้งเดิมในฟิลิปปินส์” โดย คริส พาเนริโอ (Cris Panerio) องค์กร MASIPAG
- อยู่กับวิกฤตภูมิอากาศด้วยเกษตรกรรมทางเลือก โดย สุภา ใยเมือง ผู้อำนวยการมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน
ผู้ดำเนินการเสวนา
คาทินี ซามอน (Kartini Samon) องค์กร GRAIN
จัดโดย GRAIN, FOCUS on the Global South
----------------------------------------------
16.30-18.00
เล่าเรื่อง โดย นิภารัตน์ อันแสน, เกษตรกรรุ่นใหม่ชาวจังหวัดมหาสารคาม (คนต้นเรื่อง) โดยคุณวลัยลักษณ์ ชมโนนสูง
และ;
ซีรีย์สารคดี - ชุด “ออกแบบชีวิตท่ามกลางโควิด-19 ของคนรุ่นใหม่อีสาน” โดยการรวบรวมเนื้อหาจากรายการ “อยู่ดีมีแฮง” (2563)
---------------------------------------------
วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน 2564
9.30-11.30
เวทีเสวนา "เมียนมากับกระบวนการพัฒนาแบบย้อนกลับ : แนวโน้มโครงการพัฒนาขนาดใหญ่หลังรัฐประหาร”
ผู้ร่วมเสวนา
- อู มอ ทุน อ่อง (U Maw Htun Aung), รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการไฟฟ้าและพลังงานแห่งรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติ
- ซอ ตา โป (Saw Tha Poe) องค์กร Karen Environmental and Social Action Network (KESAN)
- ผศ.นฤมล ทับจุมพล สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้ดำเนินการเสวนา
วรวรรณ ศุกระฤกษ์ เครือข่ายติดตามการลงทุนไทยและความรับผิดชอบข้ามพรมแดน (ETOs Watch)
จัดโดย เสมสิกขาลัย และ เครือข่ายติดตามการลงทุนไทยและความรับผิดชอบข้ามพรมแดน (ETOs Watch)
-----------------------------------------------
11.30 -12.00
สารคดี - มองทุนไทยในพม่า (Thai Investment in Myanmar: A Closer Look) (2560) โดย EarthRights International
-----------------------------------------------
13.00-14.30
เวทีอภิปราย “ค้าขยะ: เมื่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นที่ทิ้งขยะโลก”
ผู้ร่วมอภิปราย
· ดารู เซทโยรินี (Daru Setyorini) องค์กรติดตามนิเวศและการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ (ECOTON) อินโดนีเซีย
· ปัว ไล่ เป็ง (Pua Lay Peng), องค์กรเพื่อสิ่งแวดล้อมกัวลาลังกัต (PTASKL) มาเลเซีย
· อัครพล ตีบไธสง มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH)
ผู้ดำเนินการอภิปราย
หว่อง ปุย ยี (Wong Pui Yi) ศูนย์ต่อต้านการทุจริตและการฉ้อโกง (C4 Center) มาเลเซีย
จัดโดย The Center to Combat Corruption and Cronyism (C4 Center) Malaysia, Ecological Alert and Recovery – Thailand (EARTH) Thailand
------------------------------------------------
15.00-16.30
เสวนา “โควิด-19 กระทบชุมชนเกษตรและสังคมชาวนาอย่างไร”
ผู้ร่วมเสวนา
- โสเจียด เฮง (Socheat Heng) สภาประชาชนรากหญ้ากัมพูชา (Cambodian Grassroots People's Assembly)
- นูร์ ฟิตรี อามีร์ มูฮัมหมัด (Nur Fitri Amir Muhamad) ฟอรั่มความมั่นคงด้านอาหาร (Malaysia Forum on Food Security) มาเลเซีย
- Rassela Malinda, Pusaka Bentala Rakyat, Indonesia
- อุบล อยู่หว้า เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก
·
ผู้ดำเนินการเสวนา
กิ่งกร นรินทรกุล ณ อยุธยา BioThai
จัดโดย เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก, BioThai, GRAIN, สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
--------------------------------------------
16.30-18.00
ภาพยนต์สารคดี – “Vein” โดยผู้กำกับสี่คนจากพม่าที่ได้รับหลายรางวัล (2559)
Human Dignity Film Institute
วันจันทร์ที่ 27 กันยายน 2564
9.30-11.30
เวทีอภิปราย “หลากรูปแบบของการแย่งยึดที่ดินในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
ผู้ร่วมอภิปราย
· สุเรช บาละสุบรามาเนียม (Suresh K. Balasubramaniam), People Before Profit (PBP), SUARAM, Malaysia
· สอง ดานิก (Song Danik), นักวิจัยเรื่องที่ดินจาก Equitable Cambodia
· พรพนา ก๊วยเจริญ กลุ่มจับตาปัญหาที่ดิน
ผู้ดำเนินการอภิปรายและให้ความเห็น
เอียง วุดที (Eang Vuthy), Equitable Cambodia
จัดโดย Equitable Cambodia, SUARAM (Malaysia), FOCUS, โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-------------------------------------------
12.30-14.30
เสวนา “สิทธิชนพื้นเมือง ป่าอนุรักษ์และมรดกโลก”
ผู้ร่วมเสวนา
- พชร คำชำนาญ ภาคีบางกลอย
- ซัมบัน ทูกุง (Samban Tugang) องค์กร Save River มาเลเซีย
- โสเจีย เพียบ (Sochea Pheap) สมาคมเยาวชนคนพื้นเมืองกัมพูชา(Cambodia Indigenous Youth Association : CIYA)
- ผศ.ดำรงพล อินทร์จันทร์ ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ดำเนินการเสวนาและให้ความเห็น
พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ มูลนิธิผสานวัฒนธรรม
จัดโดย ภาคีบางกลอย, ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่, SUARAM Malaysia
--------------------------------------------------
15.00-16.30
เสวนา “ออกแบบใหม่เขตเศรษฐกิจพิเศษ: ข้อเสนอของประชาชน”
ผู้ร่วมเสวนา
· สมนึก จงมีวศิน กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC Watch)
· อัน รามา (An Rama), ศูนย์พันธมิตรแรงงานและสิทธิมนุษยชน (Center for Alliance of Labor and Human Rights : CENTRAL) กัมพูชา
· ผศ.ดร.กนกวรรณ มโนรมย์ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้ดำเนินการเสวนาและให้ความเห็น
ผศ. ดร. เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล (ICJ)
จัดโดย กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EEC Watch), เครือข่ายจับตาปัญหาที่ดิน (Land Watch Thai)
-------------------------------------------------
16.30-18.00
ภาพยนตร์สารคดี - ต้นกำเนิดอัสลี (ASLI The Origins) เกี่ยวกับชนเผ่าโอรัง อัสลีในประเทศมาเลเซีย (2560) และเล่าถึงเบื้องหลังแนวคิดและการผลิตโดยซาลิสสา มาริคาน (Zarissa Marican) เจ้าของผลงาน จากประเทศมาเลเซีย
ดำเนินการเสวนาโดย พุธิตา ดอกพุฒ สำนักข่าวกรีนนิวส์
วันอังคารที่ 28 กันยายน 2564
9.30-11.00 เสวนา “มลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ข้อเท็จจริงและทางแก้”
ผู้ร่วมเสวนา
· ธารา บัวคำศรี กรีนพีซประเทศไทย
· ชาลมิลา อารีฟฟิน (Shamila Ariffin) องค์กร Sahabat Alam Malaysia (SAM)
· วายู เพนดานา (Wahyu Pendana) องค์กร Walhi (Friend of the Earth Indonesia)
ผู้ดำเนินการเสวนาและให้ความเห็น
เกียว เจีย เยา (Kiu Jia Yaw) คณะกรรมการนักกฎหมายสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาเลเซีย
จัดโดย ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (RCSD), Project SEVANA South-East Asia
------------------------------------------------------
11.30-13.00
เสวนา “ผลกระทบของข้อตกลงและนโยบายทางการค้าต่ออธิปไตยทางอาหารในอาเซียน”
ผู้ร่วมเสวนา
· “การรณรงค์ CPTPP เมื่อเมล็ดพันธ์ตกอยู่ในมือภาคธุรกิจ : สถานการณ์ในประเทศไทย” โดย วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ องค์กร BioThai/FTA Watch
· “FTA และประมวลกฎหมาย (Omnibus Law) ที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงทรัพยากรการเกษตรของสตรีในอินโดนีเซีย” โดย อริสกา กุรเนียวาตี (Arieska Kurniawati) องค์กร Solidaritas Perempuan อินโดนีเซีย
· FTA จีน/กัมพูชา โดย รส โสกุลธี (Ros Sokunthy) โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา (FOCUS on the Global South: FOCUS)
ดำเนินการเสวนา
โจเซฟ พูรูกานัน (Jaseph Puruganun), FOCUS
จัดโดย FOCUS, เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก, GRAIN
---------------------------------------
14.00-16.00
เสวนา “เธอทำลาย ฉันเยียวยา: บทบาทของประชาชนในพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำโขงในการฟื้นฟูนิเวศที่ถูกทำลายโดยโครงการเขื่อน”
ผู้ร่วมเสวนา
· คุณอัสนัย สระสูงเนิน WWF ประเทศไทย
· คุณวิมลจันทร์ ติยะบุตร ตัวแทนจากบ้านสามผง ต.สามผง อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม
· คุณอ้อมบุญ ทิพย์สุนา ผู้ประสานงานเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนลุ่มน้ำโขง 7 จังหวัดภาคอีสาน (คสข.)
· มัก สิทธิริด (Mak Sithirith) โปรแกรมธรรมาภิบาลน้ำลุ่มน้ำโขง (Mekong Water Governance Program) องค์กร Oxfam International
· ศ.ดร.ทวนทอง จุฑาเกตุ อาจารย์ประจำสาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ดำเนินการเสวนา
ดร.กฤษฎา บุญชัย สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
จัดโดย กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง, เครือข่ายชุมชนแม่น้ำโขง
--------------------------------------------
16.00-18.00
สารคดี “โขงบ่คือเก่า” (2562)
ไทยพีบีเอส
ส่วนที่ 3: ออกแบบอาเซียนใหม่
วันพุธที่ 29 กันยายน 2564
9.00-12.00
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
“ธรรมาภิบาล ความเสมอภาค และความยั่งยืนของภาคธุรกิจไฟฟ้าไทย: จากปัญหาสู่แนวทางแก้ไข”
วิทยากร
· ชื่นชม สง่าราศรี กรีเซน นักวิชาการอิสระด้านพลังงาน
· ดร.โสภิตสุดา ทองโสภิต ·ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานแสงอาทิตย์และระบบการจัดเก็บพลังงาน รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (อดีตนักวิจัยที่สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนพลังงานอาวุโสที่ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
· สันติ โชคชัยชำนาญกิจ กลุ่มจับตาพลังงาน
ผู้ให้ความเห็น
· สารี อ๋องสมหวัง สภาองค์กรของผู้บริโภค
· สฤณี อาชวานันทกุล บริษัทป่าสาละ จำกัด
ผู้ดำเนินการและให้ความเห็นเพิ่มเติม
วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ เครือข่ายพลังงานและนิเวศวิทยาในภูมิภาคแม่น้ำโขง (MEENet)
จัดโดย เครือข่ายพลังงานและนิเวศวิทยาในภูมิภาคแม่น้ำโขง (MEENet)
เครือข่ายประชาชนจับตาการลงทุนในเขื่อนลาว (LDIM)
13.00-15.00
เวทีอภิปราย “คดียุทธศาสตร์ต่อต้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
[SLAPP] ต่อนักข่าวสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
ผู้อภิปราย
· โพชอย พี. ลาบ็อก (Pochoy P. Labog) ศูนย์ทรัพยากรธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
· วิไลวรรณ จงวิไลเกษม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
· ปรัชญ์ รุจิวนารมย์, สำนักข่าวบางกอกโพสต์, ไทย
· เดียนานตา ปุตรา สุเมดี้ (Diananta Putra Sumedi), Aji Balikpapun Biro Banjarmasin อินโดนีเซีย
· เอ็ดวิน ไอโย (Edwin Iyo) สำนักข่าว Gold Star Daily ฟิลิปปินส์
· อเลฆันโดร กอนซาเลซ เดวิดสัน (Alejandro Gonzalez Davidson), องค์กร Mother Nature Cambodia, กัมพูชา
· วายุ ธยัตมิกาม (Wahyu Dhyatmika)Tempo Magazine, อินโดนีเซีย
ดำเนินรายการ
จิราพร คูหากาญ สำนักข่าวรอยเตอร์
-----------------------------------
15.30-17.00
เวทีอภิปราย “สู้ด้วยกฎหมาย: ประสบการณ์ของนักกฎหมายในภูมิภาคเพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม”
ผู้ร่วมอภิปราย
· กริเซลดา มาโย-อันดา (Grizelda Mayo–Anda) ศูนย์ช่วยเหลือทางกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม (ELAC) ฟิลิปปินส์
· อาเสป โกมารุดิน (Asep Komarudin) กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินโดนีเซีย
· เจสสิก้า ราม บินวานี (Jessica Ram Binwani) สหบัต อาลัม มาเลเซีย (Sahabat Alam Malaysia [SAM - Friends of the Earth Malaysia])
· ชาร์ลส์ เฮคเตอร์ (Charles Hector) ทนายความ มาเลเซีย
· ส.รัตนมณี พลกล้า มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน (CRC)
ผู้ดำเนินการ
เฟบี โยเนสต้า (Febi Yonesta) SEAPIL
17.00-18.00
สารคดี - “ฤดูโขง ฤดูคน” พร้อมพูดคุยกับผู้ถ่ายทำสารคดี คำปิ่น อักษร
----------------------------------
วันพฤหัสที่ 30 กันยายน 2564
9.30-11.30
เวทีอภิปราย “จะนำแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
(NAP)ไปใช้อย่างไรเพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม?”
ผู้ร่วมอภิปราย
· ลิวิโอ
ซารานเดรีย (Livio Sarandrea) หัวหน้าฝ่ายธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนแห่งโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
· วิกตอเรีย
คาราเนย์ (Victoria Caranay) ผู้ประสานงานด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ, องค์กร IDEALS, ฟิลิปปินส์
· แอนดี
มุตตาเคียน (Andi Muttaqien) รองผู้อำนวยการองค์กร ELSAM, อินโดนีเซีย
· กรกนก วัฒนภูมิ, สมาชิกคณะทำงานติดตามความรับผิดชอบของการลงทุนข้ามพรมแดน ไทย
· ส. รัตนมณี
พลกล้า, ผู้ประสานงาน มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน
ผู้ดำเนินการอภิปราย ผศ. เสาวนีย์ แก้วจุลกาญจน์, คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล (ICJ)
-----------------------------
11.30-12.00
ประเด็นไฮไลท์จากสัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2564
โดยเปรมฤดี ดาวเรือง โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้ประสานงานสัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน
-------------------------------
12.00-13.00
พักรับประทานอาหารกลางวัน
-------------------------------
13.00-14.30
เวทีแลกเปลี่ยน “ออกแบบอาเซียนใหม่: เสียงประชาชน”
ผู้ร่วมอภิปราย
- ประชาชนอาเซียน และข้อเรียกร้องของพวกเขา โดยชาร์ล ซานติเอโก้ (Charles Santiago) สมาชิกรัฐสภามาเลเซียและประธานรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน (APHR)
- วิกฤตแรงงานข้ามพรมแดน วิกฤตโควิด - 19 โดย เกียงมิน ลวิน ที (Khaingmin Lwin Tee) มูลนิธิรักษ์ไทย
- วิกฤตแรงงาน วิกฤตโควิด - 19: สถานการณ์กัมพูชา โดย สไรมอม เลิม (Sreymom Loem) ศูนย์ข้อมูลแรงงาน (WIC) กัมพูชา
- ความหวังต่อแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียว (ASEAN one health) ของอาเซียน โดย นพ. สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ โรงพยาบาลจะนะ ประเทศไทย
ดำเนินการอภิปราย
เชร็ค โสเพีย กลุ่มดำเนินการทางสังคมเพื่อชุมชนและการพัฒนา (SACD), กัมพูชา
14.30-15.30
เวทีแลกเปลี่ยน “ออกแบบอาเซียนใหม่ : เสียงจากอนาคตของอาเซียน”
ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน
· ธรรมาภิบาลที่อาเซียนต้องการ โดย หว่อง ปุย ยี (Wong Pui Yi) ศูนย์ต่อต้านการทุจริตและพวกพ้องนิยม (C4 Center) มาเลเซีย
· เขื่อนเปลี่ยนชีวิตเรา โดยตัวแทนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่เขื่อนเซซาน 2 กัมพูชา
· สู้กับโควิด – 19 ในวิกฤตประชาธิปไตยในพม่า โดย โดยซอ มิน อู (Zaw Min Oo) ตัวแทนคนรุ่นใหม่จากทวาย พม่า
· เมื่อคนรุ่นใหม่กลับสู่ฐานราก โดย ศราวุฒิ เรือนคง สมาคมไทยเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในชนบท (ThaiDHRRA)
ดำเนินการอภิปราย
นิชา เวชพานิช สำนักข่าวกรีนนิวส์
------------------------------
15.30-16.30
"ความหมายของการออกแบบอาเซียนใหม่: ความเห็นปิดท้ายจากองค์กรร่วมจัดงาน MAEW2021"
โดยตัวแทนจากองค์กรร่วมจัด
· ดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (RCSD) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
· ธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง/คณะทำงานติดตามความรับผิดชอบของการลงทุนข้ามพรมแดน
· พรพนา ก๊วยเจริญ เครือข่ายจับตาปัญหาที่ดิน
· ศิริรุ่ง ศรีสิทธิพิศาลภพ ชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม
· สมเกียรติ จันทรสีมา สำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส
· คาทินี ซามอน GRAIN
· คีตนาฏ วรรณบวร Focus on the Global South
· ส.รัตนมณี พลกล้า มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน
· เปรมฤดี ดาวเรือง โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้ดำเนินการ
กมล สุกิน GreenNews